ตัวชี้วัดภาษาไทย ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

0

ตัวชี้วัดภาษาไทย ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ตัวชี้วัดภาษาไทย ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เอกสาร หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) และเอกสารที่เกี่ยวข้อง โดย สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ภาษาไทย เป็นเอกลักษณ์ของชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรม อันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ และเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติ ให้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้าง ความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทําให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดํารงชีวิตร่วมกัน ในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จาก แหล่งข้อมูลสารสนเทศต่างๆ เพื่อพัฒนาความรู้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนําไปใช้ ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็นสื่อแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ด้านวัฒนธรรม ประเพณี สุนทรียภาพ เป็นสมบัติล้ําค่าควรแก่การเรียนรู้ อนุรักษ์ และสืบสานให้คงอยู่ คู่ชาติไทยตลอดไป

ดาวน์โหลดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คลิกที่นี่

ตัวชี้วัดภาษาไทย ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ดาวน์โหลดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คลิกที่นี่

ขอบคุณเนื้อหาจาก สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

เรื่องราวที่น่าสนใจเพิ่มเติม ตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

ตัวชี้วัดวิทยาศาสตร์ หลักสูตร ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

รวมกิจกรรม Active Learning การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สู่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้

สพฐ. เผยแพร่คู่มือ แนวทางการจัดการเรียนรู้ และวิดีทัศน์เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สำหรับครู สถานศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษา

รวมกิจกรรม Active Learning การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สู่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้

แนวทางการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สู่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ระดับประถมศึกษา จำนวน 5 เล่ม
เล่มที่ 1 กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สู่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลด
เล่มที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สู่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลด
เล่มที่ 3 กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สู่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลด
เล่มที่ 4 กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สู่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลด
เล่มที่ 5 กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สู่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลด

แนวทางการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สู่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ระดับมัธยมศึกษา จำนวน 5 เล่ม
เล่มที่ 1 กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สู่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลด
เล่มที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สู่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลด
เล่มที่ 3 กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สู่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลด
เล่มที่ 4 กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สู่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลด
เล่มที่ 5 กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สู่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลด

ขอบคุณเนื้อหาจาก สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

เรื่องราวที่เกี่ยวข้อง แผนการสอน ปฐมวัย active learning แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดเสริมประสบการณ์ ระดับปฐมวัย แบบ active learning 3 ระดับ

รวมแผนการสอน active learning ไฟล์ doc 5 วิชาหลัก ป.1-6 ดาวน์โหลดแผนการจัดการเรียนรู้แบบ active learning ไฟล์ doc 5 วิชาหลัก ได้ที่นี่

คู่มือการดําเนินงานลูกเสือในสถานศึกษา สังกัดสํานักงาน กศน.

0

สังกัดสํานักงาน กศน. การเผยแพร่และนําคู่มือการดําเนินงานลูกเสือในสถานศึกษา สังกัด เพื่อนำไปใช้ในการขับเคลื่อนกิจกรรม

คู่มือการดําเนินงานลูกเสือในสถานศึกษา สังกัดสํานักงาน กศน.

สํานักงาน กศน. ได้เล็งเห็นความสําคัญ ในการจัดกิจกรรมลูกเสือ ซึ่งเป็นกิจกรรมสําคัญ ในการพัฒนาคน ให้มีระเบียบวินัย ความเสียสละ ความรับผิดชอบ ความอดทน ความซื่อสัตย์ ความจงรักภักดี ต่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีของบ้านเมือง จึงได้จัดทํา คู่มือการดําเนินงาน ลูกเสือ ในสถานศึกษา สังกัดสํานักงาน กศน. ขึ้น โดยมีสาระสําคัญ เกี่ยวกับ กิจการและนโยบายของงาน ลูกเสือ การบริหารและการดําเนินงานลูกเสือ การจัดกิจกรรมลูกเสือในสถานศึกษา การส่งเสริมและยกย่องเชิดชูเกียรติ ผู้ปฏิบัติกิจกรรมลูกเสือ
เพื่อให้หน่วยงานและสถานศึกษา สังกัดสํานักงาน กศน. สามารถบริหารกิจการลูกเสือ และจัดกระบวนการลูกเสือในสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ สํานักงาน กศน. จึงได้จัดส่งคู่มือการดําเนินงาน ลูกเสือในสถานศึกษา สังกัดสํานักงาน กศน. มายังท่านเพื่อแจ้งสถานศึกษาในสังกัดทุกแห่ง ได้นําไปใช้ ในการขับเคลื่อนการดําเนินงานจัดกิจกรรม ลูกเสือในสถานศึกษา ต่อไป

ดาวน์โหลด คู่มือการดําเนินงานลูกเสือ ในสถานศึกษา สังกัดสํานักงาน กศน. คลิกที่นี่

คู่มือการดําเนินงานลูกเสือในสถานศึกษา สังกัดสํานักงาน กศน.

คู่มือการดําเนินงานลูกเสือในสถานศึกษา สังกัดสํานักงาน กศน.

ดาวน์โหลด คู่มือการดําเนินงานลูกเสือ ในสถานศึกษา สังกัดสํานักงาน กศน. คลิกที่นี่

ขอบคุณเนื้อหาจาก ศธ.360 องศา

เรื่องราวที่น่าสนใจเพิ่มเติม คู่มือการฝึกอบรม หลักสูตร ผู้กํากับลูกเสือ ต้านภัยยาเสพติด เนื้อหา วิธีการฝึกอบรม กิจกรรม ลูกเสือต้านภัยยาเสพติด ดาวน์โหลดที่นี่

ซักซ้อมความเข้าใจ การแต่งเครื่องแบบ ลูกเสือ ยุวกาชาด โดย กระทรวงศึกษาธิการ

ตัวชี้วัดภูมิศาสตร์ ฉบับปรับปรุง 2560 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางสาระภูมิศาสตร์ฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

ตัวชี้วัดภูมิศาสตร์ ฉบับปรับปรุง 2560 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางสาระภูมิศาสตร์ฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

ตัวชี้วัดภูมิศาสตร์ ฉบับปรับปรุง 2560 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางสาระภูมิศาสตร์ฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ให้เป็น หลักสูตรแกนกลางของประเทศ เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2551 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสํานักวิชาการและ มาตรฐานการศึกษา ได้ดําเนินการติดตามผลการนําหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติอย่างต่อเนื่องในหลายรูปแบบ ทั้งการ ประชุมรับฟังความคิดเห็น การนิเทศติดตามผลการใช้หลักสูตรของโรงเรียน การรับฟังความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ ของสํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา รายงานผลการวิจัยของหน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร และการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผลจากการศึกษา พบว่า ปัญหาส่วนใหญ่ เกิดจากการนําหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สู่การปฏิบัติในสถานศึกษา และในห้องเรียน อย่างไรก็ตาม ในด้านของเนื้อหาสาระในกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางฯ พบว่า มาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัดซึ่งเป็นเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ยังไม่เพียงพอต่อการรองรับสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งเป็นหัวใจของการวางรากฐานขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ การพัฒนาศักยภาพคน การยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 ให้สามารถพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ก้าวทันและทัดเทียมนานาชาติ

ดาวน์โหลดตัวชี้วัดภูมิศาสตร์ ฉบับปรับปรุง 2560

ตัวชี้วัดภูมิศาสตร์ ฉบับปรับปรุง 2560 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางสาระภูมิศาสตร์ฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

ตัวชี้วัดภูมิศาสตร์ ฉบับปรับปรุง 2560

ขอบคุณเนื้อหาจาก สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

เรื่องราวที่น่าสนใจเพิ่มเติม ตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

ตัวชี้วัดวิทยาศาสตร์ หลักสูตร ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ตัวชี้วัดวิทยาศาสตร์ หลักสูตร ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ตัวชี้วัดวิทยาศาสตร์ หลักสูตร ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ตัวชี้วัดวิทยาศาสตร์ หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ ได้กําหนดสาระ การเรียนรู้ออกเป็น 4 สาระ ได้แก่ สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ และสาระที่ 4 เทคโนโลยี มีสาระเพิ่มเติม 4 สาระ ได้แก่ สาระชีววิทยา สาระเคมี สาระฟิสิกส์ และสาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ซึ่งองค์ประกอบของหลักสูตร ทั้งในด้านของเนื้อหา การจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้นั้น มีความสําคัญอย่างยิ่งในการวางรากฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น ให้มี ความต่อเนื่องเชื่อมโยงกัน ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สําหรับกลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้กําหนดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ที่ผู้เรียนจําเป็นต้องเรียน เป็นพื้นฐาน เพื่อให้สามารถนําความรู้นี้ไปใช้ในการดํารงชีวิตหรือศึกษาต่อในวิชาชีพที่ต้องใช้ วิทยาศาสตร์ได้ โดยจัดเรียงลําดับความยากง่ายของเนื้อหาแต่ละสาระในแต่ละระดับชั้นให้มีการเชื่อมโยง ความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะที่สําคัญทั้งทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษที่ 21 ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจ โดยใช้ข้อมูล หลากหลายและประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้

ดาวน์โหลดตัวชี้วัดวิทยาศาสตร์ หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 คลิกที่นี่

ตัวชี้วัดวิทยาศาสตร์ หลักสูตร ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ขอบคุณเนื้อหาจาก สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

เรื่องราวที่น่าสนใจเพิ่มเติม ตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

ตัวชี้วัดภูมิศาสตร์ ฉบับปรับปรุง 2560 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางสาระภูมิศาสตร์ฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

เว็บไซต์หลัก ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเจ้าภาพ สพป.ราชบุรี เขต 1 แข่งวันที่ 25-27 ม.ค. 2566 คลิกที่นี่

ในการนี้ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กําหนดจัดการแข่งขัน งาน ศิลปหัตถกรรม นักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ 70 ปีการศึกษา 2565 จึงมอบหมายสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษา ภาคกลาง ราชบุรี เขต 1, ภาคอีสาน ร้อยเอ็ด เขต 1, ภาคเหนือ น่าน เขต 1 และ ภาคใต้ สตูล ซึ่งได้มีการวางแผน การดําเนินงานไว้แล้วเป็นเจ้าภาพหลักในการจัดงานครั้งนี้ โดยให้เจ้าภาพแต่ละภูมิภาคจัดทําคําสั่ง แต่งตั้งคณะทํางานและคณะกรรมการตัดสินโดยผู้มีอํานาจในแต่ละภูมิภาคลงนาม ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานมอบหมายให้ นางสาวอรอนงค์ อุทารเวสารัช หมายเลขโทรศัพท์ 090-326-3696 เป็นผู้ประสานงาน

ศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคกลาง ภาคตะวันออก ปีการศึกษา 2565 เว็บไซต์หลัก ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ เจ้าภาพ สพป.ราชบุรี เขต 1 แข่งวันที่ 25-27 ม.ค. 2566 คลิกที่นี่

เว็ปไซต์ ศิลปหัตถกรรม ครั้งที่ 70 ระดับชาติ ปีการศึกษา 2565 ล่าสุด https://sillapa.net/home/sillapa70-rule/

เว็บไซต์หลัก ศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคเหนือ ปีการศึกษา 2565 ศิลปหัตถกรรม 2565 ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ เจ้าภาพ สพป.น่าน เขต 1 แข่งวันที่ 3-5 ก.พ. 2566 คลิกที่นี่

การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ภาคกลางและภาคตะวันออก ครั้งที่ 70 เจ้าภาพ สพป.ราชบุรี เขต 1 แข่งวันที่ 25-27 ม.ค. 2566 คลิกที่นี่

เว็บไซต์หลักศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคกลาง ปีการศึกษา 2565 ระดับชาติ ระดับ สพป.

เว็บไซต์หลักศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคกลาง ปีการศึกษา 2565 ระดับชาติ ระดับ สพม.

เว็บไซต์หลักศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคกลาง ปีการศึกษา 2565 ระดับชาติ ระดับ การศึกษาพิเศษ

เว็บไซต์หลักศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคกลาง ปีการศึกษา 2565 ระดับชาติ ระดับ ศูนย์การศึกษาพิเศษ

เกณฑ์การแข่งขันคลิกที่นี่ ศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรม 2565 เกณฑ์การแข่งขัน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ปีการศึกษา 2565

ขอบคุณเนื้อหาจาก ศิลปหัตถกรรมนักเรียน

เรื่องราวที่เกี่ยวข้อง

ศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคใต้ เว็ปไซต์หลัก การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ภาคใต้ ปีการศึกษา 2565 ที่ จังหวัดสตูล วันที่ 18-20 ม.ค.66

ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ภาคอีสาน ว็ปไซต์หลัก การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปีการศึกษา 2565 ที่จังหวัดร้อยเอ็ด 29-31 ม.ค. 2566

ตรวจสอบการอบรมของสถาบันคุรุพัฒนา ตรวจสอบประวัติการอบรม หลักสูตรที่สถาบันคุรุพัฒนารับรอง ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2561 – 2565 ได้ที่นี่

0

ตรวจสอบการอบรมของสถาบันคุรุพัฒนา ตรวจสอบประวัติการอบรม หลักสูตรที่สถาบันคุรุพัฒนารับรอง ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2561 – 2565 ได้ที่นี่

ตรวจสอบการอบรมของสถาบันคุรุพัฒนา ตรวจสอบประวัติการอบรม หลักสูตรที่สถาบันคุรุพัฒนารับรอง ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2561 – 2565 ได้ที่นี่ สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา โดยสถาบันคุรุพัฒนาได้ดำเนินงานโครงการวิจัยติดตามและประเมินผลการจัดอบรมในหลักสูตรที่สถาบันคุรุพัฒนารับรอง ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2561 – 2565 โดยได้จัดทำแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อจัดเก็บประวัติและข้อมูลการจัดอบรมของหลักสูตรและผู้ที่เข้ารับการอบรมในหลักสูตรที่สถาบันคุรุพัฒนารับรอง

ตรวจสอบประวัติการอบรม หลักสูตรที่สถาบันคุรุพัฒนารับรอง คลิกที่นี่

คู่มือการใช้งานระบบตรวจสอบประวัติการอบรม คลิกที่นี่

ตรวจสอบการอบรมของสถาบันคุรุพัฒนา ตรวจสอบประวัติการอบรม หลักสูตรที่สถาบันคุรุพัฒนารับรอง ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2561 – 2565 ได้ที่นี่

จึงขอเชิญผู้เข้ารับการอบรมในหลักสูตรที่สถาบันคุรุพัฒนารับรอง ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2561 – 2565 เข้าตรวจสอบประวัติการอบรมและประเมินการจัดอบรมฯ ที่ https://course.kurupatana.ac.th/?pri_menu=training_check&sec_menu=training_check

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://site.ksp.or.th/home.php?site=tpdi หรือสอบถามเพิ่มเติม สถาบันคุรุพัฒนา สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา โทร: 0 2281 1845 หรือผ่านทาง e-Mail: [email protected] หรือผ่านทาง Facebook Page: https://www.facebook.com/kurupatanaksp

ขอบคุณเนื้อหาจาก คุรุสภา

เรื่องราวที่น่าสนใจเพิ่มเติม สมัครสอบ TEC-W เทียบผล CEFR สทศ.เปิดให้สมัครสอบ TEC-W ทดสอบวัดความสามารถภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในการทำงาน

สมัครสอบ สอบวัดสมรรถนะครู ครั้งที่ 1/2565 ด้านการวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ จาก สทศ ผ่านเกณฑ์ ได้หนังสือรับรองผลคะแนน รายละเอียดที่นี่

เว็บไซต์หลักศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ระดับชาติ ภาคเหนือ ปีการศึกษา 2565 เจ้าภาพ สพป.น่าน เขต 1 แข่งวันที่ 3-5 ก.พ. 2566

สวัสดีครับวันนี้เว็บไซต์ครูอัพเดตดอทคอมมีเรื่องราวเกี่ยวกับ เว็บไซต์หลักศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ระดับชาติ ภาคเหนือ ปีการศึกษา 2565 ซึ่งเจ้าภาพในการแข่งขันครั้งนี้ คือ สพป.น่าน เขต 1 โดยมีกำหนดการแข่งขันในวันที่ 3-5 ก.พ. 2566

ในการนี้ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กําหนดจัดการแข่งขัน งาน ศิลปหัตถกรรม นักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ 70 ปีการศึกษา 2565 จึงมอบหมายสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษา ภาคกลาง ราชบุรี เขต 1, ภาคอีสาน ร้อยเอ็ด เขต 1, ภาคเหนือ น่าน เขต 1 และ ภาคใต้ สตูล ซึ่งได้มีการวางแผน การดําเนินงานไว้แล้วเป็นเจ้าภาพหลักในการจัดงานครั้งนี้ โดยให้เจ้าภาพแต่ละภูมิภาคจัดทําคําสั่ง แต่งตั้งคณะทํางานและคณะกรรมการตัดสินโดยผู้มีอํานาจในแต่ละภูมิภาคลงนาม ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานมอบหมายให้ นางสาวอรอนงค์ อุทารเวสารัช หมายเลขโทรศัพท์ 090-326-3696 เป็นผู้ประสานงาน

เว็บไซต์หลัก ศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคเหนือ ปีการศึกษา 2565 ศิลปหัตถกรรม 2565 ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ เจ้าภาพ สพป.น่าน เขต 1 แข่งวันที่ 3-5 ก.พ. 2566 คลิกที่นี่

เว็ปไซต์ ศิลปหัตถกรรม ครั้งที่ 70 ระดับชาติ ปีการศึกษา 2565 ล่าสุด https://sillapa.net/home/sillapa70-rule/

เว็บไซต์หลัก ศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคเหนือ ปีการศึกษา 2565 ศิลปหัตถกรรม 2565 ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ เจ้าภาพ สพป.น่าน เขต 1 แข่งวันที่ 3-5 ก.พ. 2566 คลิกที่นี่

การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ 70 ภาคเหนือ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา น่าน เขต 1 แข่งวันที่ 3-5 ก.พ. 2566

ผลการแข่งขันศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคเหนือ

สถานที่จัดการแข่งขันงาน ศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคเหนือ ระดับชาติ ปีการศึกษา 2565 จังหวัดน่าน ระหว่างวันที่ 3-5 ก.พ. 2566

ข้อมูลสถานที่จัดการแข่งขัน ระดับ สพป. คลิกที่นี่ 

ข้อมูลสถานที่จัดการแข่งขัน ระดับ สพม. คลิกที่นี่

เว็บไซต์หลักศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคเหนือ ปีการศึกษา 2565 ระดับชาติ ภาคเหนือ

เว็บไซต์หลักศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคเหนือ ปีการศึกษา 2565 ระดับชาติ ระดับ เว็บไซต์สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

เว็บไซต์หลักศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคเหนือ ปีการศึกษา 2565 ระดับชาติ ระดับ สพป.

เว็บไซต์หลักศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคเหนือ ปีการศึกษา 2565 ระดับชาติ ระดับ สพม.

เว็บไซต์หลักศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคเหนือ ปีการศึกษา 2565 ระดับชาติ ระดับ การศึกษาพิเศษ

เว็บไซต์หลักศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคเหนือ ปีการศึกษา 2565 ระดับชาติ ระดับ ศูนย์การศึกษาพิเศษ

ตารางการแข่งขัน หลักศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคเหนือ ปีการศึกษา 2565 ระดับชาติ คลิกที่นี่ 

เกณฑ์การแข่งขันคลิกที่นี่ ศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรม 2565 

ขอบคุณเนื้อหาจาก ศิลปหัตถกรรมนักเรียน

เรื่องราวที่เกี่ยวข้อง

ศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคกลาง ภาคตะวันออก ปีการศึกษา 2565 

เว็ปไซต์หลัก การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ภาคใต้ 

เว็ปไซต์หลัก การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปีการศึกษา 2565 ที่จังหวัดร้อยเอ็ด 29-31 ม.ค. 2566

ศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคใต้ เว็ปไซต์หลัก การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ภาคใต้ ปีการศึกษา 2565 ที่ จังหวัดสตูล วันที่ 18-20 ม.ค.66

ศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคใต้ เว็ปไซต์หลัก การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ภาคใต้ ปีการศึกษา 2565 ที่ จังหวัดสตูล วันที่ 18-20 ม.ค.66

สพฐ. มอบหมายเจ้าภาพการจัดการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับ ชาติ งานศิลปหัตถกรรม นักเรียน ระดับภาค ครั้งที่ 70 ปีการศึกษา 2565 ในการนี้ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กําหนดจัดการแข่งขัน งาน ศิลปหัตถกรรม นักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ 70 ปีการศึกษา 2565 จึงมอบหมายสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1, ร้อยเอ็ด เขต 1, น่าน เขต 1 และ สตูล ซึ่งได้มีการวางแผน การดําเนินงานไว้แล้วเป็นเจ้าภาพหลักในการจัดงานครั้งนี้ โดยให้เจ้าภาพแต่ละภูมิภาคจัดทําคําสั่ง แต่งตั้งคณะทํางานและคณะกรรมการตัดสินโดยผู้มีอํานาจในแต่ละภูมิภาคลงนาม ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานมอบหมายให้ นางสาวอรอนงค์ อุทารเวสารัช หมายเลขโทรศัพท์ 090-326-3696 เป็นผู้ประสานงาน

เว็ปไซต์หลัก และตารางการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ภาคใต้ ระดับ สพป. ที่จังหวัดสตูล  คลิกที่นี่

เว็ปไซต์หลัก และตารางการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ภาคใต้ ระดับ สพม. ที่จังหวัดสตูล  คลิกที่นี่

ศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคใต้ เว็ปไซต์หลัก การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ภาคใต้ ปีการศึกษา 2565 ที่ จังหวัดสตูล วันที่ 18-20 ม.ค.66

เว็ปไซต์ ศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ 70 ระดับชาติ และ เกณฑ์การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ

ศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคใต้ เว็ปไซต์หลัก การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ภาคใต้ ปีการศึกษา 2565 ที่ จังหวัดสตูล วันที่ 18-20 ม.ค.66

ขอบคุณเนื้อหาจาก ศิลปหัตถกรรมนักเรียน

เรื่องราวที่เกี่ยวข้อง ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ภาคอีสาน 

ศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคเหนือ ปีการศึกษา 2565 เว็บไซต์หลัก 

ผลการแข่งขันศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 70 ภาคใต้ 

ลิงก์ดาวน์โหลด คู่มือการคัดเลือกศึกษานิเทศก์ สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สพฐ. ปี 2565 คลิกที่นี่ 

ศึกษานิเทศก์ (Supervisor) คือ ผู้ทำหน้าที่นิเทศ แนะนำ ชี้นำ กระตุ้นให้ครูและผู้บริหารสถานศึกษา ให้เกิดความรู้ ความตระหนักและมีทักษะในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งสามารถเป็นที่ปรึกษาทางวิชาการสำหรับนักบริหารระดับสูงในองค์กรที่สังกัด เช่น ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผู้อำนวยการกลุ่มงานต่าง ๆ เป็นต้น (สุพักตร์ พิบูลย์.2560 : ออนไลน์) ศึกษานิเทศก์ ต้องเก่งในเชิงวิชาการเป็นอย่างมาก จะต้องได้รับการพัฒนาสมรรถนะให้มีความเป็นเลิศ

ลิงก์ดาวน์โหลด คู่มือการคัดเลือกศึกษานิเทศก์ ศน. เตรียมสอบศึกษานิเทศก์ 2565 คัดเลือกศึกษานิเทศก์ 2565 ตำแหน่งศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สพฐ. ปี 2565 คลิกที่นี่ 

ตามที่ ก.ค.ศ. ได้กําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้ง ให้ดํารงตําแหน่งศึกษานิเทศก์ สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ตามหนังสือสํานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.6/ว 1 ลงวันที่ 5 มกราคม 2565 ประกอบกับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้แจ้งกําหนด การคัดเลือกให้สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดและสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทราบแล้ว นั้น

เพื่อให้การดําเนินการคัดเลือกเป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กําหนด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงจัดทําคู่มือ การดําเนินการคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งศึกษานิเทศก์ สังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2565 เล่มนี้ขึ้น สําหรับผู้ดําเนินการคัดเลือกใช้เป็น แนวปฏิบัติให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน

ลิงก์ดาวน์โหลด คู่มือการคัดเลือกศึกษานิเทศก์ ศน. เตรียมสอบศึกษานิเทศก์ 2565 คัดเลือกศึกษานิเทศก์ 2565 ตำแหน่งศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สพฐ. ปี 2565 คลิกที่นี่ 

ลิงก์ดาวน์โหลดคู่มือการคัดเลือกศึกษานิเทศก์ ศน. 

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ ต่อการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินการคัดเลือกบุคคล เพื่อบรรจุและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งศึกษานิเทศก์ สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2565 ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

ขอบคุณข้อมูลจาก สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

เรื่องราวที่น่าสนใจ ลิงก์ดาวน์โหลด คู่มือการสอนอ่านเขียน โดยการแจกลูกสะกดคํา อ่านแจกลูกสะกดคํา โดยสถาบันภาษาไทย สังกัด สพฐ. คลิกที่นี่

แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการสอนหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา สื่อการเรียนรู้ การป้องกันการทุจริตหลักสูตรต้านทุจริต ปฐมวัย ป.1-ม.6 ครบทุกชั้น ดาวน์โหลดที่นี่