วันพฤหัสบดี, พฤศจิกายน 21, 2024
Google search engine
หน้าแรกวิทยฐานะครูก.ค.ศ. อนุมัติให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีและเลื่อนเป็น วิทยฐานะเชี่ยวชาญ 24 ราย ( 20 กรกฎาคม 2565)

ก.ค.ศ. อนุมัติให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีและเลื่อนเป็น วิทยฐานะเชี่ยวชาญ 24 ราย ( 20 กรกฎาคม 2565)

ก.ค.ศ. วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ

เลขาธิการ ก.ค.ศ. เปิดเผยว่าในการประชุม อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเกี่ยวกับวิทยฐานะข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา ครั้งที่ ๗/๒๕๖๕ เมื่อวันพุธที่ ๒๐  กรกฎาคม ๒๕๖๕ ได้มีมติอนุมัติให้ข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษามีและเลื่อนเป็นวิทยฐานะเชี่ยวชาญ จำนวน ๒๔ ราย ได้แก่ วิทยฐานะครูเชี่ยวชาญ
จำนวน ๓ ราย วิทยฐานะศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ จำนวน ๑ ราย วิทยฐานะผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ จำนวน ๗ ราย
วิทยฐานะผู้อำนวยการสำนักงาน กศน.จังหวัดเชี่ยวชาญ จำนวน ๕ ราย และวิทยฐานะผู้อำนวยการ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชี่ยวชาญ จำนวน ๘ ราย ดังนี้
หลักเกณฑ์ๆ 2 ๑๗/๒๕๕๒ จำนวน ๑๑ ราย ดังนี้

๑. เลื่อนเป็นวิทยฐานะครูเชี่ยวชาญ จำนวน ๓ ราย ได้แก่
๑) นางสาวจิตติมา หมั่นกิจ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ (ผลงานทางวิชาการ คือ
๑. รายงานการวิจัย ผลของสูตรอาหารผสมไขน้ำและอัตราความหนาแน่นต่อการเจริญเติบโตของปลากระแห
ที่เลี้ยงในกระชัง รายงานการพัฒนาเอกสารประกอบการเรียน วิชาอาหารและโภชนาการสัตว์น้ำ รหัสวิชา
๓๖๐๑ – ๒00๒ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ประเภทวิชาประมง สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
พร้อมเอกสารประกอบ)
๒ นายปิติภาคย์ ปิ่นรอด วิทยาลัยเทคนิคลำพูน (ผลงานทางวิชาการ คือ ๑. รูปแบบการพัฒนา
นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์อาชีวศึกษาสู่เชิงพาณิชย์สำหรับครูผู้สอนวิชาโครงการหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
๒. บทความวิจัย Results of the games for learning Course Basic Circuit Pulse & Digital and Circuit
Pulse & Digital Courses of the Diploma Year 2 Students. ๒. บทความวิจัย Conceptual Framework
for Developing Thinking Skills by Learning Model on Research – Based Techniques in Pulse
Techniques Subject. ๓. บทความวิจัย Development of a Learning Activity Package Enhancing
Thinking Skill to Create of Vocational Innovation as Commercial Products. ๔. บทความวิจัย
Conceptual Framework of Critical Success Factors on Developing Vocational Education
Invention and Innovation to Commercial Products. ๕. บทความวิจัย A Development of
Instructional Model in Op-Amp and Linear IC Course of Diploma Electronic Student Using
Distance Communication Technology and Information Technology. ๖. หนังสือเรียนวงจรพัสส์และสวิตซิ่ง
๗. หนังสือเรียนวงจรดิจิตอล)
๓) นายอรุณ ทองกลม วิทยาลัยเทคนิคศรีสะเกษ (ผลงานทางวิชาการ คือ ๑. รายงานการวิจัย
และพัฒนา เรื่อง การพัฒนาชุดการสอนวิชาเครื่องเสียง รหัสวิชา ๒๑๐๕ – ๒๐๐๘ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตร
วิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช ๒๕๕๖ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมเอกสารประกอบ
๒. การสร้างและพัฒนาเครื่องดำนา พร้อมเอกสารประกอบ)

๒. เลื่อนเป็นวิทยฐานะศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ จำนวน ๑ ราย ได้แก่ นางสาวฐิตารีย์ วิลัยเลิศ
สพม. เขต ๒๖ (ผลงานทางวิชาการ คือ ๑. การพัฒนารูปแบบการนิเทศที่ส่งเสริมทักษะการสอนคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ของครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๖ ๒. รายงานการนิเทศการพัฒนาครู
ประยุกต์ใช้ I(T เพื่อการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ด้วยระบบพี่เลี้ยง)
๓. เลื่อนเป็นวิทยฐานะผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ จำนวน ๗ ราย ได้แก่
๑) นางสาวปนัดดา วงค์จันตา โรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ สำนักบริหารงาน
การศึกษาพิเศษ (ผลงานทางวิชาการ คือ ๑. รูปแบบการส่งเสริมศักยภาพด้านพลศึกษา สำหรับนักเรียนที่มี
ความบกพร่องทางการได้ยินระดับชั้นมัธยมศึกษาของโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พร้อมเอกสารประกอบ
๒. การประเมินโครงการพัฒนาศักยภาพด้านศิลปะสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ระดับชั้นมัธยมศึกษา
ของโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์)
๒) นายนิมิตร อาศัย วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย (ผลงานทางวิชาการ คือ
๑. รูปแบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษาเกษตรยุคใหม่ (Smart Agricultural College) เพื่อขับเคลื่อนคุณภาพผู้เรียน
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโสยีสุโขทัย ๒. การประเมินโครงการเพิ่มปริมาณและพัฒนาผู้เรียนอาชีวศึกษา
เพื่อการพัฒนาชนบท (อศ.กช.) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย)
๓) นายศิริ ธนะมูล โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย จังหวัดร้อยเอ็ด สพม. ร้อยเอ็ด (ผลงาน
ทางวิชาการ คือ ๑. รูปแบบการพัฒนาคุณภาพนักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด
๒. รายงานการประเมินโครงการจัดกรเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ
(English Program : EP) โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด)
๔) นายประทีป ไชยเมือง โรงเรียนพรตพิทยพยัต สพม. เขต ๒ (ผลงานทางวิชาการ คือ
๑. การพัฒนารูปแบบการบริหารเพื่อพัฒนาศักยภาพทางวิชาการของนักเรียนรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๔
พร้อมเอกสารประกอบ ๒. การประเมินโครงการพัฒนาคุณลักษณะนักเรียนอย่างสมดุลของโรงเรียนบดินทรเดชา
สิงห์ สิงหเสนี) ๔
๕) นายวรกร สุวรรณ์ โรงเรียนวิเชียรมาตุ ๓ จังหวัดตรัง สพม. เขต ๑๓ (ผลงานทางวิชาการ คือ
๑. รายงานการวิจัยการศึกษาผลการบริหารจัดการ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและกระบวนการ
จัดการเรียนรู้แบบ Active Online สำหรับนักเรียนการศึกษาทางเลือก โรงเรียนวิเชียรมาตุ ๓ พร้อมเอกสารประกอบ
๒. รายงานการศึกษาผลการนิทศภายในโดยใช้เทคนิคการใช้โค้ช เพื่อการพัฒนาการสอนสร้างสรรค์เป็นฐาน
(Creativity Based Learning : CBL) ของครู ในกิจกรรมเพิ่มเวลารู้ โรงเรียนวิ.ชียรมาตุ ๓ พร้อมเอกสารประกอบ)
๖) นายสุชาติ จินดาแจ้ง วิทยาลัยสารพัดช่างอุทัยธานี (ผลงานทางวิชาการ คือ ๑. รูปแบบ
การเสริมสร้างสมรรถนะผู้เรียน กลุ่มอาชีพอาหารและโภชนาการ หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น เพื่อการเป็น
ผู้ประกอบการโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน วิทยาลัยสารพัดช่างอุทัยธานี ๒. การประเมินโครงการส่งเสริมวิชาชีพ
ระยะสั้น กลุ่มหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพแรงงานสู่ SME ๔.0 วิทยาลัยสารพัดช่างอุทัยธานี)

๗) นางอาลัย พรหมชนะ โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี กรุงเทพมหานคร สพม. กรุงเทพมหานคร เขต ๒
(ผลงานทางวิชาการ คือ ๑. รายงานการวิจัยเรื่อง การยกระดับคุณภาพผู้เรียนโดยใช้รูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้
ทางวิชาชีพ ของโรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์ พร้อมเอกสารประกอบ ๒. รายงาน
การประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ของนักเรียนโรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์)
หลักเกณฑ์ๆ ว ๑๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๓ ราย ดังนี้
๑. มีวิทยฐานะผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดเชี่ยวชาญ จำนวน ๕ ราย ได้แก่
๑) นางรัชนุช สละโวหาร สังกัดสำนักงาน กศน. จังหวัดเพชรบุรี (ผลงานทางวิชาการ คือ
ร้ายงานการวิจัยการบริหารจัดการการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและกรศึกษาตามอัธยาศัยในสถานการณ์
ความปกติใหม่ของสำนักงาน กศน. จังหวัดเพชรบุรี)
๒) นายวรรณวิจักษณ์ กุศล สังกัดสำนักงาน กศน. จังหวัดสระแก้ว (ผลงานทางวิชาการ คือ
การพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาต่อเนื่องด้านการพัฒนาอาชีพของสำนักงาน กศน. จังหวัดสระแก้ว)
๓) นายเอกราช ชวีวัฒน์ สังกัดสำนักงาน กศน. จังหวัดบุรีรัมย์ (ผลงานทางวิชาการ คือ
รายงานโครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง ด้านการพัฒนาอาชีพ (ไม่เกิน ๓0 ชั่วโมง) สำนักงาน กศน.จังหวัดบุรีรัมย์)
ㆍ) นายประพันธ์ ทองพราว สังกัดสำนักงาน กศน. จังหวัดน่าน (ผลงานทางวิชาการ คือ
ประเมินโครงการขยายผลส่งเสริมและพัฒนาทักษะการฟัง – พูดภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับผู้ใหญ่บนพื้นที่สูง
ตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี)
๕) นายกาเรียน ยืนยงชาติ สังกัดสำนักงาน กศน. จังหวัดฉะเชิงเทรา (ผลงานทางวิชาการ คือ
รายงานผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาบุคลากรเกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรมสำนักงาน เพื่อสร้างโอกาสการมีงานทำ
สำนักงานส่งเสริมกาศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดฉะเชิงเทรา)
๒. มีวิทยฐานะผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชี่ยวชาญ จำนวน ๘ ราย ได้แก่
๑) นายอัศรายุทธ ศรีใจอินทร์ สพป. น่าน เขต ๒ (ผลงานทางวิชาการ คือ รายงานผล
การบริหารจัดการการพัฒนาการอ่านและการเขียนคำพื้นฐานภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓
โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในโรงเรียนโครงการพระราชดำริ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
น่าน เขต ๒)
๒) นายกานนท์ แสนเภา สพม. หนองคาย (ผลงานทางวิชาการ คือ รายงานการพัฒนา
ยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายหน่วย ด้วยกระบวนการเพื่อนช่วยเพื่อน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษาหนองคาย)
๓) ว่าที่ร้อยโท สุเวศ กลับศรี สพป. นครศรีธรรมราช เขต < (ผลงานทางวิชาการ คือ
รายงานการขับเคลื่อนระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต ๔)

นายวิทย์ ศรีวะรมย์ สพป. เชียงราย เขต (ผลงานทางวิชาการ คือ การบริหารจัดการ
ด้วยกระบวนการ C – SPDCA เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต ๔)
๕) นายเผชิญศักดิ์ แก้วเขียว สพป. สุพรรณบุรี เขต ๒ (ผลงานทางวิชาการ คือ รายงานผล
การส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ โดยใช้กระบวนการร่วมพัฒนา ๕P
ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 2019) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต ๒)
๖) นายมังกรแก้ว ดรุณศิลป์ สพป. ประจวบคีรีขันธ์ เขต ๑ (ผลงานทางวิชาการ คือ รายงาน
ผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามนโยบาย ๔ สร้าง ด้วยกระบวนการบริหาร ” STEPS for GC Model
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต ๑)
๗) นายศักดิ์ชัย เพชรแกมทอง สพม. กำแพงเพชร (ผลงานทางวิชาการ คือ รายงานผล
การดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนและคุ้มครองนักเรียน โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษากำแพงเพชร)
๘) นายสุทธิดล พุทธรักษ์ สพม. เชียงใหม่ (ผลงานทางวิชาการ คือ รายงานโครงการส่งเสริม
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทักษะอาชีพของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา
เชียงใหม่)

ก.ค.ศ. อนุมัติให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีและเลื่อนเป็นวิทยฐานะเชี่ยวชาญ

ครูอัพเดตดอทคอม รายละเอียดเพิ่มเติม >> https://otepc.go.th/th/otepc03/news-otepc03/item/3995-2022-08-02-05-52-07.html

 

RELATED ARTICLES
- Advertisment -
Google search engine

Most Popular

Recent Comments